ข่าววันนี้ » โซเชียล
Nabi - 17 กันยายน 2564 | แก้ไข

ล อ ง โ ค วิ ด ค ว ร รู้ไว้ อ า ก า ร ระยะยาว ลิ้น อาจ ไ ม่ เหมือนเดิม อีกต่อไป

ก ร ม ค ว บ คุ ม โ ร ค เผย ผู้ ติ ด เ ชื้ อ CV-19 ที่ รั ก ษ า ห า ย ไ ม่  มี เ ชื้  อ ไ ว รั สในร่างกายแล้ว อาจมีอาการหลงเหลืออยู่ที่เรียกว่า ลองCV-19ได้ในช่วง 1-3 เดือนแรก พบได้ร้อยละ 30-50 ของ ผู้ ป่ ว ย โดยเฉพาะกลุ่ม ป่ ว ย รุ น แ รง อาการแตกต่างกันเช่น มี ไ ข้ ป ว ด ศี ร ษ ะ การรับรู้กลิ่นหรือรสชาติลดลง หายใจ ไ ม่ อิ่ม ป ว ด กล้ามเนื้อ เ ห นื่ อ ย ล้ า สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากความ เ ค รี ย ด ส ะ ส ม แนะให้พบ แ พ ท ย์ เพื่อหา ส า เ ห ตุ

วานนี้ (16 กันยายน 2564) นาย แ พ ท ย์ โสภณ เอี่ยมศิริถาวร ร อ ง อ ธิ บ ดี ก ร ม ค ว บ คุ ม โ ร ค ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข กล่าวว่า ขณะนี้แนวโน้ม ผู้ ป่ ว ย CV-19 ที่ รั ก ษ า ห า ย รายวันมี จำ น ว น เพิ่มขึ้น สูงกว่า ผู้ ติ ด เ ชื้ อ ร า ย ใ ห ม่ ส ะ ท้ อ น ถึงคุณภาพระบบการดูแล รั ก ษ า ยอดผู้ป่วยสะสมตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564 จนถึงวันนี้รวม 1,405,374 ราย หลายรายแม้จะหาย ป่ ว ย และ ต ร ว จ ไ ม่ พ บ เ ชื้ อ ไ ว รั สในร่างกายแล้ว อาจจะยังมีอาการหลงเหลืออยู่ อ ง ค์ ก า ร อ น า มั ย โ ล ก (World Health Organization : WHO) เรียกอาการที่เกิดขึ้นนี้ว่า “ภาวะลอง โ ค วิ ด” (L o n g C O V I D) หรืออาการหลงเหลือของ เ ชื้  อ CV-19 ระยะยาว ซึ่งสามารถพบภาวะนี้ได้ทั่วโลก ส่วนใหญ่จะมีอาการหลังจากหายป่วยในช่วง 1-3 เดือนแรก พบได้ร้อยละ 30-50 ของผู้ป่วยโ ร ค CV-19 จึง ไ ม่ ต้ อ ง ต ก ใ จ หรือ กั ง ว ล ใ จ แต่อย่างใด

ทางด้านนายแพทย์จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์ ผู้อำนวยการกองระบาดวิทยา กล่าวเพิ่มเติมว่า อาการของ“ภาวะลองโควิด” แสดงออกได้ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ผู้ป่วยแต่ละรายจะมีอาการแตกต่างกัน ไม่มีลักษณะตายตัว เช่น ไอ มีไข้ ป ว ด ศี ร ษ ะ การรับรู้กลิ่นหรือรสชาติลดลง เ จ็ บ หน้าอก หายใจไม่อิ่ม เหนื่อยล้า ปวดข้อหรือกล้ามเนื้อ ท้องเสีย เกิดจากการที่ภูมิคุ้มกันของร่างกายลดลง และบางรายอาจมีอาการทางจิตใจ เช่น วิตกกังวล สมาธิสั้นลง หรือซึมเศร้าร่วมด้วย

โดยผู้ป่วยCV-19 กลุ่มสีแดงหรือผู้ป่วยที่มีอาการป่วยรุนแรง จะมีโอกาสเกิดภาวะลองโควิดสูงกว่าผู้ป่วยCV-19 ที่มีอาการน้อย เนื่องจากอาจมีปัจจัยเรื่องความเครียดที่สะสมมาตั้งแต่ช่วงป่วยเป็นโรคCV-19 จึงส่งผลต่อเนื่องอาจยาวนาน 3-6 เดือนได้กว่าจะกลับมาเป็นปกติ อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่ส่งผลให้เกิดภาวะลองโควิดด้วย เช่น อายุโดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ เรื่องเพศ โดยพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย รวมทั้งผู้ที่มีโรคประจำตัวอื่นๆ ด้วย เช่น โรคหอบหืด และผู้ที่เคยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ซึ่งผู้ที่หายป่วยแล้วไม่ต้องกังวลใจแต่อย่างใด

นายแพทย์จักรรัฐ กล่าวต่ออีกว่า หากผู้ที่หายป่วยจากโรคCV-19 แล้วยังมีอาการที่กล่าวมา แนะนำให้พบแพทย์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง เนื่องจากบางรายอาจเป็นผลจากตัวยาที่ใช้ในการรักษา หรือบางรายอาจจะมีโรคอื่น ๆ ร่วมด้วย จึงต้องมีการตรวจเพิ่มเติมและทำการรักษาให้ตรงกับปัญหาที่เกิดขึ้น และยังมีความเป็นไปได้ในผู้หายป่วยแล้ว บางรายอาจจะ ติ ด เ ชื้ อCV-19 ซ้ำได้ โดยเฉพาะการติดเชื้อที่ต่างไปจากสายพันธุ์เดิม แต่อาจไม่แสดงอาการชัดเจน ดังนั้นผู้ป่วยCV-19 แม้หายป่วยแล้ว แต่ยังจำเป็นต้องปฏิบัติตนตามมาตรการป้องกันการ ติ ด เ ชื้ อ CV-19 อย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ เช่น ใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลาแม้อยู่บ้าน หมั่นล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ 70% และไม่ไปในแหล่งชุมชนแออัด หรือสถานที่อากาศไม่ถ่ายเท สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่สายด่วนกรมควบคุมโรค โทร. 1422

ขอบคุณข้อมูลจาก : ไทยรู้ สู้โควิด

ขอบคุณภาพประกอบข่าวจาก : เส้นด้าย

แสดงความคิดเห็น

ติดตามเราจากช่องทางอื่นๆ